ที่มา : https://web.facebook.com/jiradejwong…
ผู้เขียน : ภูมิ จิระเดชวงศ์
เผยแพร่ : วันศุกร์ที่ ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔

รายละเอียด

การเขียนยันต์ทำไมถึงต้องเรียน ทำไมต้องไปต่อครูเอาเอง ในสิ่งที่สนใจหรืออยากเรียน คิดเอง รู้เอง ศึกษา ลอกเลียน หาจากอินเทอร์เน็ต หรือยูทูปนั้น จะได้หรือเป็นสิ่งที่ทำได้จริงหรือ

ผู้เขียนได้เพียรเสาะหาครูบาอาจารย์มาอย่างต่อเนื่องยาวนาน เมื่อเรียนกับครูท่านหนึ่งจบ ครูจะให้คำสุดท้ายว่า #ต้องไปต่อครูที่ท่านสอนให้ในยันต์นั้น #ห้ามนำไปใช้โดยคิดเองทำเองอย่างเด็ดขาด

ทุกวันนี้ มีจอมขมังขมังเวทย์เกิดขึ้นจำนวนมาก บางท่านนั้นเชี่ยวชาญจริงรู้จริงจนน่ายกย่อง แต่บางท่านก็อิงกระแสหรือเกิดจากการสร้างกระแสว่าเชี่ยวชาญจากคนสร้างวัตถุมงคลจำหน่าย ซึ่งเป็นที่น่าอับอายเป็นอย่างยิ่ง

ผู้เขียนนั้นไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญและมีความรู้ในด้านนี้น้อยมาก เพียงมีความสนใจมาตั้งแต่อายุน้อย ๆ ด้วยเห็นว่ามีตัวอักษรที่อยู่ในยันต์และตัวเลขปรากฏอยู่ จึงได้เดินทางไปหาครูบาอาจารย์อยู่เนืองนิตย์ ซึ่งเมื่อศึกษาอย่างต่อเนื่องทำให้เห็นถึงศาสตร์นี้่มีความมหัศจรรย์เป็นอย่างยิ่ง รู้เพียงเบื้องต้นเกี่ยวกับตัวเลขในการลง มนตร์ ยันต์ สัก ว่าต้องถอดรหัสของคาถาให้ได้ ๔ บาท จึงจะเป็นมนต์ ยันต์ สัก เข้า-ออก อย่างไร

ซึ่งเมื่อเดือน กันยายน ๒๕๖๓ ผู้เขียนจึงได้หารือกับครูกีชา วิมลเมธี ซึ่งเป็นครูผู้เขียน ปัจจุบันท่านได้เสียชีวิตแล้ว ท่านเชี่ยวชาญในหลาย ๆ ด้าน เช่น แพทย์แผนไทย สมุนไพร ภาษาบาลี ภาษาพม่า (ท่านจัดทำดิกชันนารี ไทย-พม่า) ฯลฯ ว่าผู้เขียนนั้นจะจัดทำหนังสือเรื่องยันต์ที่เกี่ยวกับตัวเลข เพราะเท่าที่ศึกษาและค้นคว้ามาอย่างต่อเนื่อง หลาย ๆ ยันต์ได้ลงเลขไว้มีจำนวนมาก แต่หาคำอธิบายในส่วนคาถากำกับไว้นั้นไม่ได้ จึงได้รับความเมตตาจากครูในการให้แนวคิดและให้ความรู้ในส่วนต่าง ๆ และได้ค้นคว้าแล้วถอดรหัสหัวใจคาถาต่างไว้ และมีส่วนที่ยังถอดรหัสคาถาไม่แล้วเสร็จอีกจำนวนมาก ซึ่งผู้เขียนจะค่อย ๆ ศึกษาและนำมาเรียบเรียงเพื่อเผยแพร่ อันจะเกิดประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจต่อไปในภายภาคหน้า

หัวใจคาถาที่ถอดรหัสแล้ว ๑๑๙ คาถา (ในส่วนคาถากำกับในแต่ละคำนั้น ขอสงวนไว้ด้วยเกรงจะเกิดผลไม่ดีต่อผู้นำไปใช้ ด้วยต้องได้รับอนุญาตจากครูผู้สอนก่อนเสมอ)

ยกตัวอย่างหัวใจที่ ๔๗ จะมีเพียง จะ ภะ กะ สะ ซึ่งเมื่อลง (จะ) ลง (ภะ) ลง (กะ) ลง (สะ) นั้นต้องลงกำกับด้วยคาถาตัวนั้นเสมอ ซึ่ง หัวใจธาตุกรณีย์ จะมีคาถากำกับดังนี้

จะ = จะชะทุชชะนะสังสัคคัง
ภะ = ภะชะสาธุสะมาคะตัง
กะ = กะระปุญญะมะโหรัตตัง
สะ = สะระนิจจะมะหิจจะตัง

#หัวใจคาถาที่ถอดรหัสแล้ว (เมื่อลงเลขยันต์ต้องมีคาถากำกับเลขนั้นทุกครั้ง)
๑. พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ = สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ
๒. พระสูตร = ที มะ สัง อัง ขุ
๓. พระวินัย = อา ปา มะ จุ ปะ
๔. โพชฌงค์ = สะ ธะ วิ ปิ ปะ สะ อุ
๕. พระรัตนตรัย = อิ สวา สุ / สุ สวา อิ
๖. พาหุง = พา มา นา อุ กะ สะ นะ ทุ
๗. พระพุทธเจ้า = อิกะวิติ
๘. ปฎิสังขาโย / พระฤๅษีตาไฟ = จิปิเสคิ
๙. พระไตรปิฎก = มะ อะ อุ
๑๐. พระไตรสรณาคมน์ = สะระณะมะ
๑๑. ยอดศีล = พุทธะสังมิ
๑๒. เปรต = ทุสะนะโส
๑๓. ปะถะมัง = ทุสะมะนิ
๑๔. อิธะเจ = อิธะคะมะ
๑๕. ตรีนิสิงเห = สะหะชะฎะตรี
๑๖. สนธิ = งะญะนะมะ
๑๗. พรหมวิหาร / หัวใจพระพรหม = เมกะมุอุ
๑๘. ยะโตหัง / อังคุลิมานปริตร = นะหิโสตัง
๑๙. พระกุกกุสันโธ = นะมะกะยะ
๒๐. พระโกนาคมโน = นะมะกะยะ
๒๑. พระกัสสปะ = กะระมะถะ
๒๒. สังคะหะ = จิเจรุนิ
๒๓. นะโม = นะอุเอนะ
๒๔. ไฟ = เตชะสะติ
๒๕. ลม = วายุละภะ
๒๖. น้ำ = อาปานุติ
๒๗. ดิน = ปะถะวิยัง
๒๘. บารมี = ผะเวสัจเจเอชิมะ
๒๙. วิรูปักเข / ขันธปริตร = เมตะสะระภูมู
๓๐. พระปริตร / ๗ ตำนาน = สะยะสะปะยะอะจะ
๓๑. นิพพาน = สิวังพุทธัง
๓๒. ยานี / รัตนสูตร = ยะนิรัตนัง
๓๓. กรณียเมตตาสูตร = เอตังสะติง
๓๔. วิปัสสะนา = วิระสะติ
๓๕. มงคลสูตร = เอตะมังคะลัง
๓๖. อายันตุโภนโต / อาวุธพระพุทธเจ้า = อะนิชะมิ
๓๗. มหาสมัยสูตร = กาละกัญชามะหาภิสะมา
๓๘. เสฎฐัน = เสพุเสวะเสตะอะเส
๓๙. ปาฎิโมกข์ = เมอะมะอุ
๔๐. เพชรสี่ด้าน = อะสิสัตติปะภัสสะมิง
๔๑. ศีล ๑๐ = ปาสุอุชา
๔๒. อริยะสัจ = ทุสะนิมะ
๔๓. ธรรมจักร = ติติอุนิ
๔๔. นิพพานจักรี = อิสะวิระมะสาพุเทวา
๔๕. ทศชาติ = เตชะสุเนมะภูจะนาวิเว
๔๖. ธาตุ ๔ = นะมะพะทะ
๔๗. ธาตุพระกรณีย์ = จะภะกะสะ
๔๘. พระกรณีย์ = จะอะภะคะ
๔๙. ปลายศีล = อิสะปะมิ
๕๐. กินนุสัน / สุริยะ – จันทระปริตร = กะนะนิมา
๕๑. พระยายักษ์ = ภะยะนะยะ
๕๒. ภาณยักษ์ = กะยะพะตัง
๕๓. อาวุธพระพุทธเจ้า = ปะ สิ สะ
๕๔. นะโม = นะวะอัสสะ
๕๕. กอขอ = กะยะนะอัง
๕๖. ศีลพระ = ปาอิอาปะ
๕๗. องค์ศีล = นะพุทธะสัง
๕๘. ศีล = พุทธะสังอิ
๕๙. โลกทั้งสิบ = โลกะวิทู
๖๐. ยันต์ = ยันตังสันตัง
๖๑. ขุนแผน = สุนะโมโล
๖๒. แคล้วคลาด = อะหันติโถ
๖๓. เกราะเพชร = ภุตากังเก
๖๔. จังงัง = กะระสะติ
๖๕. อิทธิฤทธิ์ = อะหังนุกา
๖๖. กาสัก = กาละกานู
๖๗. พระภูมิ = ภูมมิ ภูมมิ
๖๘. นิพพานสูตร = อะนิโสสะ
๖๙. แก้วสามประการ = มะติยาโน
๗๐. พระฉิมพลี = นะชาลีติ
๗๑. สัคเค = นะสะมิเห
๗๒. พระญาณรังสี = สะกะจะพาหุ
๗๓. สัมพุทเธ = สะพะปะโต
๗๔. คงคาเดือด = กะชะชะนะ
๗๕. พระเวสสันดร = สะระตะนะ
๗๖. พระวิธูรบัณฑิต = นะมะสังอิ
๗๗. พระมโหสถ = ปะสิอุอะ
๗๘. พระเตมีย์ = กะระเตจะ
๗๙. พระภูริทัต = มะสะทิวา
๘๐. พระสุวรรณสาม = อะวะสะหะ
๘๑. พระมหาชนก = ปะพะยะหะ
๘๒. วิปัสสี = สะขิสะปิ
๘๓. พระมาลัย = พะลัยยะ
๘๔. พระยาร้อยเอ็ด = อิสิวิระ
๘๕. พระยาหมี = สะสิมิระ
๘๖. ทิพมนต์ = กะจะยะสะ
๘๗. งู = อะหิสัปโป
๘๘. ฆะเฎสิ / หัวในนกแซงแซว = ปะสิจะมิ
๘๙. เณร = สะสิสะอุอะวะสะหัง
๙๐. พระยานาค = อะงะสะ
๙๑. พระยาม้า = สุกะยะโย
๙๒. พญามัจจุราช = กาละมัจจุ
๙๓. พญามาร = นุภาวะโต
๙๔. สัตว์ = อันตะภะโวพะ
๙๕. ท้าวเวสสุวัณ = เวส สะ พะ สุ
๙๖. พาลี = หันตะนุภา
๙๗. องคต = พะหะวารา
๙๘. มดง่าม = กะสิตานะ
๙๙. ไก่เถื่อน = คิวิกุกู
๑๐๐. เต่าเลือน = นาสังสิโม
๑๐๑. การะเวก = กาชะวิโก
๑๐๒. ราชสีห์ = สีหะนาทัง
๑๐๓. พระเจ้า ๔ พระองค์ = นะกะอะปิ
๑๐๔. กำลังหนุมาน = นะสังสะตัง
๑๐๕. ปลาไหลเผือก = อะยาเวยยะ
๑๐๖. กอขอ = มอลอขอไข
๑๐๗. อุณลุม = อุปะสัมปะ
๑๐๘. โจร = กัณหะเณหะ
๑๐๙. ปลวก = วะโมทุทันตานัง
๑๑๐. หนุมาน = หะนุมานะ
๑๑๑. ลิงลม = วิชะจุติ
๑๑๒. พระฤๅษี = ฤฤๅฦฦๅ
๑๑๓. มนุษย์ = มะนุญญัง
๑๑๔. หญิง = จิตตังภะคินิเม
๑๑๕. ชาย = จิตตังปุริโส
๑๑๖. ทรหด = นะหิโลกัง
๑๑๗. มหาอุจ = อุทธังอัทโธ
๑๑๘. เพชรหลีก = นะผุดผัดผิด
๑๑๙. คางคก = นึมึพึทึอึ

#หัวใจคาถาที่ยังไม่ได้ถอดรหัส จำนวน ๑๐๙ หัวใจ (กำลังดำเนินการ)
สาธุ อุกาสะ วันทิตะวา
๑. นะโมพุทธายะ
๒. นะมะพะทะ
๓. จะภะกะสะ
๔. กะระมะตะ
๕. จะอะปะตะ
๖. จะอะภะคะ
๗. กะระมะตะ
๘. กะยะนะมะ
๙. อิกะวิติ
๑๐. จิเจรุนิ
๑๑. จิปิเสคิ
๑๒. ทุสะมะนิ
๑๓. อิสะปะมิ
๑๔. พุทธะสังมิ
๑๕. อิทะปะมิ
๑๖. สาธะสังมิ
๑๗. นะมะสะอิ
๑๘. ชาละกะวิ
๑๙. อิติมุลิ
๒๐. อิติยามิ
๒๑. ติติอุนิ
๒๒. อิมะทิมา
๒๓. นะมะสะอิ
๒๔. ชาจะกะวิ
๒๕. ปะสุอุชา
๒๖. นะกาเลมา
๒๗. นะนะคะมา
๒๘. กิงนาเมสิ
๒๙. ปาอิอะสะ
๓๐. นะมะกะชะ
๓๑. วิปะสุตะ
๓๒. กะนะระสะ
๓๓. วิสิสินะ
๓๔. นะมะปะทะ
๓๕. อะกะสะนะ
๓๖. ทะสะพะละ
๓๗. วะอะฬะคะ
๓๘. ปาติอาจะ
๓๙. อุมะอะยัง
๔๐. ตะหะจะละ
๔๑. นาสังสิโม
๔๒. เตสังจิปิ
๔๓. นาสิสิโม
๔๔. ทุสะนะโส
๔๕. กะสะนะโอ
๔๖. กะโกกะโถ
๔๗. ติโถปะโถ
๔๘. อะนะกะโอ
๔๙. เสทะปะโถ
๕๐. สะโสหะนัง
๕๑. อะตะจะหัง
๕๒. มะฉะปะตัง
๕๓. สะทังมะนัง
๕๔. นะทังเนวัง
๕๕. สะมาถานัง
๕๖. สะทินิตัง
๕๗. ทะมะภะยัง
๕๘. มะตาภะยัง
๕๙. หิหังอังอะ
๖๐. สะยะละรัง
๖๑. มะพะมะทัง
๖๒. มะสะสะพะ
๖๓. นะมะกะตะ
๖๔. สะสิมิระ
๖๕. สะโสนิอะ
๖๖. กะจะปะทะ
๖๗. เสสะอะอะ
๖๘. อิวาตะพะ
๖๙. สวามะมะ
๗๐. มะนัจฉะมะ
๗๑. ภะสะระหะ
๗๒. อิติอะจะ
๗๓. จะกะคุภะ
๗๔. อะระสะจิ
๗๕. สะมะจะกะ
๗๖. ทิสาอะภะ
๗๗. นะอุเอนะ
๗๘. ปะตะอะนะ
๗๙. อะปะจะอะ
๘๐. เวสะภูสะ
๘๑. อิทะระมะ
๘๒. กะยะทะอะ
๘๓. จะกะสะนะ
๘๔. นะสะสะจะ
๘๕. ทะสะสะนะ
๘๖. นะสะสะกะ
๘๗. กะสะสะนะ
๘๘. ตะมะสะหะ
๘๙. มะกะมุอุ
๙๐. มะสะอะอุ
๙๑. มะสะอะอุ
๙๒. วิมะอะอุ
๙๓. เมอะมะอุ
๙๔. นะมะอะอุ
๙๕. ลิอะอิอุ
๙๖. คะยะคุพุ
๙๗. พะสะจะตุ
๙๘. กุอะพะสุ
๙๙. อะอุเออุ
๑๐๐. อุอะอะอุ
๑๐๑. สิวังพุทธัง
๑๐๒. ตันนิพุติง
๑๐๓. ตุทะติเต
๑๐๔. เสสะพะเส
๑๐๕. กะระวิเท
๑๐๖. สะละทะนิ
๑๐๗. อะมะสะทิ
๑๐๘. ปะสิจะมิ
๑๐๙. อะนิชะนิ