หนังสือสวดมนต์ Chant Book

ปก

คำนำ

หนังสือสวดมนต์เล่มนี้ได้จัดรูปแบบเพื่อใช้สวดเฉพาะภายในวัดศรีทวี ด้วยวัดศรีทวีเป็นสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช แห่งที่ ๒ ธรรมยุต จึงมีพุทธศาสนิกชนเดินทางมาปฏิบัติธรรมและสวดมนต์กันเป็นประจำอย่างต่อเนื่องทุก ๆ วันพระ วันอาทิตย์ วันในพรรษาตลอด ๓ เดือน และวันสวดมนต์ข้ามปี เพื่อความสะดวกในการใช้งาน ทางวัดจึงได้รวบรวมบทสวดมนต์ทั้งหมดที่ใช้เป็นประจำตลอดทั้งปี นำมาจัดพิมพ์ไว้ในหนังสือเล่มนี้ ส่วนหนึ่งเป็นบทสวดจากหนังสือเอกเทสสวดมนต์ เรียบเรียงโดยพระญาณวโรดม (สนธิ์ กิจฺจกาโร) วัดบวรนิเวศวิหาร ส่วนหนึ่งเป็นบทสวดมนต์สำหรับศิษย์วัดราชาธิวาส เรียบเรียงโดยพระธรรมโกศาจารย์ (เซ่ง อุตตฺโม) และอีกส่วนหนึ่งเป็นบทสวดซึ่งใช้สืบต่อกันมาภายในวัดศรีทวี

จึงขออนุโมทนากับคณะผู้จัดทำหนังสือสวดมนต์ฉบับนี้

วัดศรีทวี
กันยายน ๒๕๖๓

บททำวัตรเช้า

บูชาพระรัตนตรัย* (หน้า ๑)

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพระอรหันต์
บริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสเครื่องเศร้าหมองทั้งหลาย
ได้ตรัสรู้ถูกถ้วนดีแล้ว

อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ.
ข้าพเจ้าบูชา ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
ด้วยเครื่องสักการะเหล่านี้. [ กราบ ]

ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
พระธรรมคือศาสนา อันพระผู้มีพระภาคเจ้าแสดงไว้ดีแล้ว

อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ.
ข้าพเจ้าบูชา ซึ่งพระธรรมเจ้านั้น
ด้วยเครื่องสักการะเหล่านี้. [ กราบ ]

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
หมู่พระสงฆ์ผู้เชื่อฟัง ของพระผู้มีพระภาคเจ้าปฏิบัติดีแล้ว

อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ.
ข้าพเจ้าบูชา ซึ่งหมู่พระสงฆเจ้านั้น
ด้วยเครื่องสักการะเหล่านี้. [ กราบ ]


* เครื่องหมาย ยามักการ ( -๎ ) วางอยู่ที่ใด ให้ออกเสียงพยัญชนะนั้นโดยไม่มีเสียงสระประกอบ.

ปุพพะภาคะนะมะการ (หน้า ๒)

[ (นำ) หันทะทานิ มะยันตัง ภะคะวันตัง วาจายะ
อะภิถุตุง ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส ]

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.

[ ๓ หน ]

พุทธาภิถุติ (หน้า ๒)

[ (นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส ]

โย โส ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา;
โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง,
สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง
สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทสิ,
โย ธัมมัง เทเสสิ อาทิกัล๎ยาณัง มัชเฌกัล๎ยาณัง
ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง, สาตถัง สัพ๎ยัญชะนัง
เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พ๎รัห๎มะจะริยัง
ปะกาเสสิ; ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ
ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ. [ กราบ ]

ธัมมาภิถุติ (หน้า ๓)

[ (นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส ]

โย โส ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ;
ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ
ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ. [ กราบ ]

สังฆาภิถุติ (หน้า ๓)

[ (นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส ]

โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิกะระณีโย,
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ;

ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง สังฆัง
สิระสา นะมามิ. [ กราบ แล้วนั่งพับเพียบ ]

ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา (หน้า ๔)

[ (นำ) หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย
เจวะ สังเวคะวัตถุปะริทีปะกะปาฐัญจะ ภะณามะ เส ]

พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว,
โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน,
โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก,
วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง.

ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน,
โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก,
โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน,
วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง.

สังโฆ สุเขตตาภ๎ยะติเขตตะสัญญิโต,
โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก,
โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส,
วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง.

อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง,
วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง,
ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัททะวา,
มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา.

สังเวคะปะริทีปะกะปาฐะ* (หน้า ๕)

อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน อะระหัง สัมมา-
สัมพุทโธ, ธัมโม จะ เทสิโต นิย๎ยานิโก อุปะสะมิโก
ปะรินิพพานิโก สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต,
มะยันตัง ธัมมัง สุต๎วา เอวัง ชานามะ, ชาติปิ ทุกขา
ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง, โสกะปะริเทวะ-
ทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา, อัปปิเยหิ สัมปะโยโค
ทุกโข, ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข, ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ
ตัมปิ ทุกขัง, สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา,
เสยยะถีทัง, รูปูปาทานักขันโธ, เวทะนูปาทานักขันโธ,
สัญญูปาทานักขันโธ, สังขารูปาทานักขันโธ, วิญญาณู-
ปาทานักขันโธ, เยสัง ปะริญญายะ, ธะระมาโน โส
ภะคะวา, เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ, เอวัง ภาคา จะ
ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี, พะหุลา
ปะวัตตะติ, รูปัง อะนิจจัง, เวทะนา อะนิจจา, สัญญา
อะนิจจา, สังขารา อะนิจจา, วิญญาณัง อะนิจจัง, รูปัง
อะนัตตา, เวทะนา อะนัตตา, สัญญา อะนัตตา, สังขารา
อะนัตตา, วิญญาณัง อะนัตตา, สัพเพ สังขารา
อะนิจจา, สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ.

เต(ตา) มะยัง, โอติณณาม๎หะชาติยา
ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ
โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ทุกโขติณณา ทุกขะปะเรตา,
อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ
อันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ.

[ (ภิกษุ-สามเณรสวด) จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง
อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง,
สัทธา อะคารัส๎มา อะนะคาริยัง ปัพพะชิตา,
ตัส๎มิง ภะคะวะติ พ๎รัห๎มะจะริยัง จะรามะ,
{ ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปันนา }**
ตัง โน พ๎รัห๎มะจะริยัง, อิมัสสะ เกวะลัสสะ
ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ ]

[ (คฤหัสถ์สวด) จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง
สะระณัง คะตา, ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ตัสสะ
ภะคะวะโต สาสะนัง, ยะถาสะติ ยะถาพะลัง
มะนะสิกะโรมะ, อะนุปะฏิปัชชามะ,
สา สา โน ปะฏิปัตติ, อิมัสสะ เกวะลัสสะ
ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ ]


* บุรุษสวด. (สตรีสวด).
** ภิกษุสวด.

บททำวัตรค่ำ

สวดบูชาพระรัตนตรัยเหมือนบททำวัตรเช้า

ปุพพะภาคะนะมะการ* (หน้า ๗)

[ (นำ) หันทะทานิ มะยันตัง ภะคะวันตัง วาจายะ
อะภิคายิตุง ปุพพะภาคะนะมะการัญเจวะ
พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เส ]*

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.

[ ๓ หน ]


* นิยมสวดนำควบกับบท พุทธานุสสะติ.

พุทธานุสสะติ (หน้า ๗)

ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัล๎ยาโณ กิตติสัทโท
อัพภุคคะโต, อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.

[ หยุดระลึกถึงพระพุทธคุณตามสมควร ]

พุทธาภิคีติ* (หน้า ๘)

[ (นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส ]

พุทธ๎วาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต,
สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต,
โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร,
วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง.

พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง      สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง      วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.

พุทธัสสาหัส๎มิ ทาโส(สี) วะ      พุทโธ เม สามิกิสสะโร,
พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ      วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.

พุทธัสสาหัง นิย๎ยาเทมิ      สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
วันทันโตหัง(ตีหัง) จะริสสามิ      พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง.

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง      พุทโธ เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ      วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน.

พุทธัง เม วันทะมาเนนะ(นายะ)
ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
สัพเพปิ อันตะรายา เม      มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.

[ หมอบกราบ แล้วสวด ]

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ.


* บุรุษสวด. (สตรีสวด).

ธัมมานุสสะติ (หน้า ๙)

[ (นำ) หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส ]

ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ.

[ หยุดระลึกถึงพระธรรมคุณตามสมควร ]

ธัมมาภิคีติ (หน้า ๙)

[ (นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส ]

ส๎วากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย,
โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท,
ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี,
วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง.

ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง      สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
ทุติยานุสสะติฏฐานัง      วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.

ธัมมัสสาหัส๎มิ ทาโส(สี) วะ      ธัมโม เม สามิกิสสะโร,
ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ      วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.

ธัมมัสสาหัง นิย๎ยาเทมิ      สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
วันทันโตหัง(ตีหัง) จะริสสามิ    ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง.

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง      ธัมโม เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ      วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน.

ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ(นายะ)
ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
สัพเพปิ อันตะรายา เม      มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.

[ หมอบกราบ แล้วสวด ]

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม.

สังฆานุสสะติ (หน้า ๑๑)

[ (นำ) หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส ]

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิกะระณีโย,
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

[ หยุดระลึกถึงพระสังฆคุณตามสมควร ]

สังฆาภิคีติ (หน้า ๑๑)

[ (นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส ]

สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต,
โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ,
สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต,
วันทามะหัง ตะมะริยานะ คะณัง สุสุทธัง.

สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง      สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
ตะติยานุสสะติฏฐานัง      วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.

สังฆัสสาหัส๎มิ ทาโส(สี) วะ      สังโฆ เม สามิกิสสะโร,
สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ      วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.

สังฆัสสาหัง นิย๎ยาเทมิ      สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
วันทันโตหัง(ตีหัง) จะริสสามิ    สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง.

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง      สังโฆ เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ      วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน.

สังฆัง เม วันทะมาเนนะ(นายะ)
ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
สัพเพปิ อันตะรายา เม      มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.

[ หมอบกราบ แล้วสวด ]

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ.

[ นั่งพับเพียบ ]

บทสวดมนต์

ชุมนุมเทวดา* (หน้า ๑๓)

สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง,
ปริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ,
ผะริต๎วานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา,
อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ.

สะมันตา จักกะวาเฬสุ      อัต๎ราคัจฉันตุ เทวะตา,
สัทธัมมัง มุนิราชัสสะ      สุณันตุ สัคคะโมกขะทัง.

สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ
จันตะลิกเข วิมาเน,
ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน
เคหะวัตถุมหิ เขตเต,
ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม
ยักขะคันธัพพะนาคา,
ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง
สาธะโว เม สุณันตุ.

ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา,
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา,
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา.


* เป็นหน้าที่ของพระ. ปกติพระสังฆเถระเป็นผู้สวด. ถ้าพระรูปอื่นเป็นผู้สวด นิยมให้พระรูปที่นั่งในลำดับที่ ๓. บทขัดตำนานอื่น ๆ ก็ปฏิบัติเช่นเดียวกัน.

ปุพพะภาคะนะมะการ (หน้า ๑๔)

[ (นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต
ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส ]

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.

[ ๓ หน ]

สะระณะคะมะนะปาฐะ (หน้า ๑๔)

[ (นำ) หันทะ มะยัง สะระณะคะมะนะปาฐัง ภะณามะ เส ]

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.

ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.

ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.

นะมะการะสิทธิคาถา* (หน้า ๑๕)

[ (นำ) หันทะ มะยัง นะมะการะสิทธิคาโย ภะณามะ เส ]

โย จักขุมา โมหะมะลาปะกัฏโฐ,
สามัง วะ พุทโธ สุคะโต วิมุตโต,
มารัสสะ ปาสา วินิโมจะยันโต,
ปาเปสิ เขมัง ชะนะตัง วิเนยยัง.

พุทธัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ,
โลกัสสะ นาถัญจะ วินายะกัญจะ,
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ,
สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ.

ธัมโม ธะโช โย วิยะ ตัสสะ สัตถุ,
ทัสเสสิ โลกัสสะ วิสุทธิมัคคัง,
นิย๎ยานิโก ธัมมะธะรัสสะ ธารี,
สาตาวะโห สันติกะโร สุจิณโณ.

ธัมมัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ,
โมหัปปะทาลัง อุปะสันตะทาหัง,
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ,
สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ.

สัทธัมมะเสนา สุคะตานุโค โย,
โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะเชตา,
สันโต สะยัง สันตินิโยชะโก จะ,
ส๎วากขาตะธัมมัง วิทิตัง กะโรติ.

สังฆัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ,
พุทธานุพุทธัง สะมะสีละทิฏฐิง,
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ,
สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ.


* พระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส.

นะโมการะอัฏฐะกะ* (หน้า ๑๖)

[ (นำ) หันทะ มะยัง นะโมการะอัฏฐะกัง ภะณามะ เส ]

นะโม อะระหะโต สัมมา-      สัมพุทธัสสะ มะเหสิโน,
นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ      ส๎วากขาตัสเสวะ เตนิธะ.

นะโม มหาสังฆัสสาปิ      วิสุทธะสีละทิฏฐิโน,
นะโม โอมาต๎ยารัทธัสสะ      ระตะนัตตะยัสสะ สาธุกัง.

นะโม โอมะกาตีตัสสะ      ตัสสะ วัตถุตตะยัสสะปิ,
นะโมการัปปะภาเวนะ      วิคัจฉันตุ อุปัททะวา.

นะโมการานุภาเวนะ      สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา,
นะโมการัสสะ เตเชนะ      วิธิมหิ โหมิ เตชะวา.


* พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

มังคะละสุตตะ (หน้า ๑๗)

[ (นำ) หันทะ มะยัง มังคะละสุตตัง ภะณามะ เส ]

เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, สาวัตถิยัง
วิหะระติ, เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเม.
อะถะโข อัญญะตะรา เทวะตา, อะภิกกันตายะ รัตติยา
อะภิกกันตะวัณณา เกวะละกัปปัง เชตะวะนัง
โอภาเสต๎วา, เยนะ ภะคะวา เตนุปะสังกะมิ,
อุปะสังกะมิต๎วา ภะคะวันตัง อะภิวาเทต๎วา
เอกะมันตัง อัฏฐาสิ. เอกะมันตัง ฐิตา โข สา
เทวะตา ภะคะวันตัง คาถายะ อัชฌะภาสิ

พะหู เทวา มะนุสสา จะ      มังคะลานิ อะจินตะยุง,
อากังขะมานา โสต๎ถานัง      พ๎รูหิ มังคะละมุตตะมัง.

อะเสวะนา จะ พาลานัง      ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา,
ปูชา จะ ปูชะนียานัง      เอตัมมังคะละมุตตะมัง.

ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ      ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา,
อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ      เอตัมมังคะละมุตตะมัง.

พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ      วินะโย จะ สุสิกขิโต,
สุภาสิตา จะ ยา วาจา      เอตัมมังคะละมุตตะมัง.

มาตาปิตุอุปัฏฐานัง      ปุตตะทารัสสะ สังคะโห,
อะนากุลา จะ กัมมันตา      เอตัมมังคะละมุตตะมัง.

ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ      ญาตะกานัญจะ สังคะโห,
อะนะวัชชานิ กัมมานิ      เอตัมมังคะละมุตตะมัง.

อาระตี วิระตี ปาปา      มัชชะปานา จะ สัญญะโม,
อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ      เอตัมมังคะละมุตตะมัง.

คาระโว จะ นิวาโต จะ      สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา,
กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง      เอตัมมังคะละมุตตะมัง.

ขันตี จะ โสวะจัสสะตา      สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง,
กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา      เอตัมมังคะละมุตตะมัง.

ตะโป จะ พ๎รัห๎มะจะริยัญจะ
อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง,
นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ
เอตัมมังคะละมุตตะมัง.

ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ      จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ,
อะโสกัง วิระชัง เขมัง      เอตัมมังคะละมุตตะมัง.

เอตาทิสานิ กัต๎วานะ
สัพพัตถะมะปะราชิตา,
สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ
ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ.

ระตะนะสุตตะ (หน้า ๑๙)

[ (นำ) หันทะ มะยัง ระตะนะสุตตัง ภะณามะ เส ]

ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ,
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข.

สัพเพ วะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ,
อะโถปิ สักกัจจะ สุณันตุ ภาสิตัง.

ตัส๎มา หิ ภูตา นิสาเมถะ สัพเพ,
เมตตัง กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ.

ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง,
ตัส๎มา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา.

ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา,
สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง.

นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ,
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง,
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.

ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง,
ยะทัชฌะคา สัก๎ยะมุนี สะมาหิโต.

นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ,
อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง,
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.

ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง,
สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ.

สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ,
อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง,
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.

เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัตถา,
จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ.

เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา,
เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ.

อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง,
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.

เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ,
นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ.

เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ,
ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา.

อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง,
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.

ยะถินทะขีโล ปะฐะวิง สิโต สิยา
จะตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะกัมปิโย.

ตะถูปะมัง สัปปุริสัง วะทามิ,
โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปัสสะติ.

อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง,
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.

เย อะริยะสัจจานิ วิภาวะยันติ,
คัมภีระปัญเญนะ สุเทสิตานิ.

กิญจาปิ เต โหนติ ภุสัปปะมัตตา,
นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะมาทิยันติ.

อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง,
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.

สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ,
ต๎ยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ.

สักกายะทิฏฐิ วิจิกิจฉิตัญจะ,
สีลัพพะตัง วาปิ ยะทัตถิ กิญจิ.

จะตูหะปาเยหิ จะ วิปปะมุตโต,
ฉะ จาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง.

อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง,
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.

กิญจาปิ โส กัมมัง กะโรติ ปาปะกัง,
กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา.

อะภัพโพ โส ตัสสะ ปะฏิจฉะทายะ,
อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทัสสะ วุตตา.

อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง,
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.

วะนัปปะคุมเพ ยะถา ผุสสิตัคเค,
คิมหานะมาเส ปะฐะมัส๎มิง คิมเห.

ตะถูปะมัง ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ,
นิพพานะคามิง ปะระมัง หิตายะ.

อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง,
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.

วะโร วะรัญญู วะระโท วะราหะโร,
อะนุตตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ.

อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง,
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.

ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง,
วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัส๎มิง.

เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉันทา,
นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป.

อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง,
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.

ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ,
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข.

ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง,
พุทธัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ.

ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ,
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข.

ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง,
ธัมมัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ.

ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ,
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข.

ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง,
สังฆัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ.

กะระณียะเมตตะสุตตะ (หน้า ๒๔)

[ (นำ) หันทะ มะยัง กะระณียะเมตตะสุตตัง ภะณามะ เส ]

กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ
ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ,
สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ
สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี.

สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ
อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ,
สันตินท๎ริโย จะ นิปะโก จะ
อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ.

นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ
เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง,
สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ
สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา.

เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ
ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา,
ทีฆา วา เย มะหันตา วา
มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา.

ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา
เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร,
ภูตา วา สัมภะเวสี วา
สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา.

นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ
นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ,
พ๎ยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา
นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ.

มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง
อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข,
เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ
มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง.

เมตตัญจะ สัพพะโลกัส๎มิง
มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง,
อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ
อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง.

ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา
สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ,
เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ
พ๎รัห๎มะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ.

ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา
ทัสสะเนนะ สัมปันโน,
กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง
นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ.

ขันธะปะริตตะ (หน้า ๒๖)

[ (นำ) หันทะ มะยัง ขันธะปะริตตัง ภะณามะ เส ]

วิรูปักเขหิ เม เมตตัง
เมตตัง เอราปะเถหิ เม,
ฉัพ๎ยาปุตเตหิ เม เมตตัง
เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ.

อะปาทะเกหิ เม เมตตัง      เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม,
จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง      เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม.

มา มัง อะปาทะโก หิงสิ      มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก,
มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ      มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท.

สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา
สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา,
สัพเพ ภัท๎รานิ ปัสสันตุ
มา กิญจิ ปาปะมาคะมา.

อัปปะมาโณ พุทโธ, อัปปะมาโณ ธัมโม,
อัปปะมาโณ สังโฆ, ปะมาณะวันตานิ สิริงสะปานิ,
อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพู มูสิกา,
กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา,
ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ, โสหัง นะโม ภะคะวะโต,
นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง.

วัฏฏะกะปะริตตะ (หน้า ๒๘)

[ (นำ) หันทะ มะยัง วัฏฏะกะปะริตตัง ภะณามะ เส ]

อัตถิ โลเก สีละคุโณ      สัจจัง โสเจยยะนุททะยา,
เตนะ สัจเจนะ กาหามิ      สัจจะกิริยะมะนุตตะรัง.

อาวัชชิต๎วา ธัมมะพะลัง      สะริต๎วา ปุพพะเก ชิเน,
สัจจะพะละมะวัสสายะ      สัจจะกิริยะมะกาสะหัง.

สันติ ปักขา อะปัตตะนา      สันติ ปาทา อะวัญจะนา,
มาตา ปิตา จะ นิกขันตา      ชาตะเวทะ ปะฏิกกะมะ.

สะหะ สัจเจ กะเต มัยหัง      มะหาปัชชะลิโต สิขี,
วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ      อุทะกัง ปัต๎วา ยะถา สิขี,
สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ      เอสา เม สัจจะปาระมีติ.

อาฏานาฏิยะปะริตตะ* (หน้า ๒๙)

[ (นำ) หันทะ มะยัง อาฏานาฏิยะปะริตตัง ภะณามะ เส ]

วิปัสสิสสะ นะมัตถุ      จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต,
สิขิสสะปิ นะมัตถุ      สัพพะภูตานุกัมปิโน.

เวสสะภุสสะ นะมัตถุ      น๎หาตะกัสสะ ตะปัสสิโน,
นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ      มาระเสนัปปะมัททิโน.

โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ      พ๎ราห๎มะณัสสะ วุสีมะโต,
กัสสะปัสสะ นะมัตถุ      วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ.

อังคีระสัสสะ นะมัตถุ      สัก๎ยะปุตตัสสะ สิรีมะโต,
โย อิมัง ธัมมะมะเทเสสิ      สัพพะทุกขาปะนูทะนัง.

เย จาปิ นิพพุตา โลเก      ยะถาภูตัง วิปัสสิสุง,
เต ชะนา อะปิสุณา      มะหันตา วีตะสาระทา.

หิตัง เทวะมะนุสสานัง      ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง,
วิชชาจะระณะสัมปันนัง      มะหันตัง วีตะสาระทัง.

นะโม เม สัพพะพุทธานัง      อุปปันนานัง มะเหสินัง,
ตัณหังกะโร มะหาวีโร      เมธังกะโร มะหายะโส.

สะระณังกะโร โลกะหิโต      ทีปังกะโร ชุตินธะโร,
โกณฑัญโญ ชะนะปาโมกโข      มังคะโล ปุริสาสะโภ.

สุมะโน สุมะโน ธีโร      เรวะโต ระติวัฑฒะโน,
โสภีโต คุณะสัมปันโน      อะโนมะทัสสี ชะนุตตะโม.

ปะทุโม โลกะปัชโชโต      นาระโท วะระสาระถี,
ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร      สุเมโธ อัปปะฏิปุคคะโล.

สุชาโต สัพพะโลกัคโค      ปิยะทัสสี นะราสะโภ,
อัตถะทัสสี การุณิโก      ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท.

สิทธัตโถ อะสะโม โลเก      ติสโส จะ วะทะตัง วะโร,
ปุสโส จะ วะระโท พุทโธ      วิปัสสี จะ อะนูปะโม.

สิขี สัพพะหิโต สัตถา      เวสสะภู สุขะทายะโก,
กะกุสันโธ สัตถะวาโห      โกนาคะมะโน ระณัญชะโห,
กัสสะโป สิริสัมปันโน      โคตะโม สัก๎ยะปุงคะโว.

เอเต จัญเญ จะ สัมพุทธา      อะเนกะสะตะโกฏะโย,
สัพเพ พุทธา อะสะมะสะมา      สัพเพ พุทธา มะหิทธิกา.

สัพเพ ทะสะพะลูเปตา      เวสารัชเชหุปาคะตา,
สัพเพ เต ปะฏิชานันติ      อาสะภัณฐานะมุตตะมัง.

สีหะนาทัง นะทันเต เต      ปะริสาสุ วิสาระทา,
พ๎รัห๎มะจักกัง ปะวัตเตนติ      โลเก อัปปะฏิวัตติยัง.

อุเปตา พุทธะธัมเมหิ      อัฏฐาระสะหิ นายะกา,
ท๎วัตติงสะลักขะณูเปตา-      สีต๎ยานุพ๎ยัญชะนาธะรา.

พ๎ยามัปปะภายะ สุปปะภา      สัพเพ เต มุนิกุญชะรา,
พุทธา สัพพัญญุโน เอเต      สัพเพ ขีณาสะวา ชินา.

มะหัปปะภา มะหาเตชา      มะหาปัญญา มะหัพพะลา,
มะหาการุณิกา ธีรา      สัพเพสานัง สุขาวะหา.

ทีปา นาถา ปะติฏฐา จะ      ตาณา เลณา จะ ปาณินัง,
คะตี พันธู มะหัสสาสา      สะระณา จะ หิเตสิโน.

สะเทวะกัสสะ โลกัสสะ      สัพเพ เอเต ปะรายะนา,
เตสาหัง สิระสา ปาเท      วันทามิ ปุริสุตตะเม.

วะจะสา มะนะสา เจวะ      วันทาเมเต ตะถาคะเต,
สะยะเน อาสะเน ฐาเน      คะมะเน จาปิ สัพพะทา.

สะทา สุเขนะ รักขันตุ      พุทธา สันติกะรา ตุวัง,
เตหิ ต๎วัง รักขิโต สันโต      มุตโต สัพพะภะเยนะ จะ.

สัพพะโรคะวินิมุตโต      สัพพะสันตาปะวัชชิโต,
สัพพะเวระมะติกกันโต      นิพพุโต จะ ตุวัง ภะวะ.

เตสัง สัจเจนะ สีเลนะ      ขันติเมตตาพะเลนะ จะ,
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ      อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ.

ปุรัตถิมัส๎มิง ทิสาภาเค      สันติ ภูตา มะหิทธิกา,
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ      อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ.

ทักขิณัส๎มิง ทิสาภาเค      สันติ เทวา มะหิทธิกา,
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ      อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ.

ปัจฉิมัส๎มิง ทิสาภาเค      สันติ นาคา มะหิทธิกา,
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ      อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ.

อุตตะรัส๎มิง ทิสาภาเค      สันติ ยักขา มะหิทธิกา,
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ      อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ.

ปุริมะทิสัง ธะตะรัฏโฐ      ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก,
ปัจฉิเมนะ วิรูปักโข      กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง.

จัตตาโร เต มะหาราชา      โลกะปาลา ยะสัสสิโน,
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ      อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ.

อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา      เทวา นาคา มะหิทธิกา,
เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ      อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ.

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง      พุทโธ เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ      โหตุ เต ชะยะมังคะลัง.

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง      ธัมโม เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ      โหตุ เต ชะยะมังคะลัง.

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง      สังโฆ เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ      โหตุ เต ชะยะมังคะลัง.

ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก      วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ,
ระตะนัง พุทธะสะมัง นัตถิ      ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต.

ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก      วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ,
ระตะนัง ธัมมะสะมัง นัตถิ      ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต.

ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก      วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ,
ระตะนัง สังฆะสะมัง นัตถิ      ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต.

สักกัต๎วา พุทธะระตะนัง      โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง,
หิตัง เทวะมะนุสสานัง      พุทธะเตเชนะ โสตถินา,
นัสสันตุปัททะวา สัพเพ      ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต.

สักกัต๎วา ธัมมะระตะนัง      โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง,
ปะริฬาหูปะสะมะนัง      ธัมมะเตเชนะ โสตถินา,
นัสสันตุปัททะวา สัพเพ      ภะยา วูปะสะเมนตุ เต.

สักกัต๎วา สังฆะระตะนัง      โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง,
อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง      สังฆะเตเชนะ โสตถินา,
นัสสันตุปัททะวา สัพเพ      โรคา วูปะสะเมนตุ เต.

สัพพีติโย วิวัชชันตุ      สัพพะโรโค วินัสสะตุ,
มา เต ภะวัต๎วันตะราโย      สุขี ทีฆายุโก ภะวะ.

อะภิวาทะนะสีลิสสะ      นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน,
จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ      อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง.


* สวดให้ตนเอง เปลี่ยนคำว่า ตุมเห เป็น อัมเห. เต เป็น เม.

โพชฌังคะปะริตตะ (หน้า ๓๔)

[ (นำ) หันทะ มะยัง โพชฌังคะปะริตตัง ภะณามะ เส ]

โพชฌังโค สะติสังขาโต      ธัมมานัง วิจะโย ตะถา,
วิริยัมปีติปัสสัทธิ-      โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร.

สะมาธุเปกขะโพชฌังคา      สัตเตเต สัพพะทัสสินา,
มุนินา สัมมะทักขาตา      ภาวิตา พะหุลีกะตา.

สังวัตตันติ อะภิญญายะ      นิพพานายะ จะ โพธิยา,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ      โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.

เอกัส๎มิง สะมะเย นาโถ      โมคคัลลานัญจะ กัสสะปัง,
คิลาเน ทุกขิเต ทิส๎วา      โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ.

เต จะ ตัง อะภินันทิต๎วา      โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ      โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.

เอกะทา ธัมมะราชาปิ      เคลัญเญนาภิปีฬิโต,
จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ      ภะณาเปต๎วานะ สาทะรัง.

สัมโมทิต๎วา จะ อาพาธา      ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ      โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.

ปะหีนา เต จะ อาพาธา      ติณณันนัมปิ มะเหสินัง,
มัคคาหะตะกิเลสา วะ      ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ      โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.

อะภะยะปะริตตะ (หน้า ๓๕)

[ (นำ) หันทะ มะยัง อะภะยะปะริตตัง ภะณามะ เส ]

ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ,
โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท,
ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง,
พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ.

ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ,
โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท,
ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง,
ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ.

ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ,
โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท,
ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง,
สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ.

เทวะตาอุยโยชะนะคาถา (หน้า ๓๖)

[ (นำ) หันทะ มะยัง เทวะตาอุยโยชะนะคาถาโย ภะณามะ เส ]

ทุกขัปปัตตา จะ นิททุกขา      ภะยัปปัตตา จะ นิพภะยา,
โสกัปปัตตา จะ นิสโสกา      โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน.

เอตตาวะตา จะ อัมเหหิ      สัมภะตัง ปุญญะสัมปะทัง,
สัพเพ เทวานุโมทันตุ      สัพพะสัมปัตติสิทธิยา.

ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ      สีลัง รักขันตุ สัพพะทา,
ภาวะนาภิระตา โหนตุ      คัจฉันตุ เทวะตาคะตา.

สัพเพ พุทธา พะลัปปัตตา      ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง,
อะระหันตานัญจะ เตเชนะ      รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

ธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตตะ (หน้า ๓๗)

[ (นำ) หันทะ มะยัง ธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตตัง ภะณามะ เส ]

เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา,
พาราณะสิยัง วิหะระติ, อิสิปะตะเน มิคะทาเย.
ตัต๎ระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ.

เท๎วเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา.
โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค, หีโน คัมโม
โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต. โย จายัง
อัตตะกิละมะถานุโยโค, ทุกโข อะนะริโย
อะนัตถะสัญหิโต. เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต
อะนุปะคัมมะ, มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ
อะภิสัมพุทธา, จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ
อภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.

กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา
ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา, จักขุกะระณี
ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อภิญญายะ
สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ. อะยะเมวะ
อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค. เสยยะถีทัง. สัมมาทิฏฐิ
สัมมาสังกัปโป, สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต
สัมมาอาชีโว, สัมมาวายาโม สัมมาสะติ
สัมมาสะมาธิ. อะยัง โข สา ภิกขะเว
มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา,
จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ
อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง.
ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง,
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา,
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข
ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง, สังขิตเตนะ
ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา. อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว
ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง. ยายัง ตัณหา
โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัต๎ระ
ตัต๎ราภินันทินี. เสยยะถีทัง. กามะตัณหา ภะวะตัณหา
วิภะวะตัณหา. อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ
อะริยะสัจจัง. โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ
อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ
อะนาละโย. อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี
ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง. อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก
มัคโค. เสยยะถีทัง. สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป,
สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว,
สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ.

อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว,
ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ
ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ
อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง
ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ
ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา
อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ
เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ,
จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ
วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.

อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว,
ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง
อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก
อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง
ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ
ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา
อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข
ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ เม
ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ
ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ
อาโลโก อุทะปาทิ.

อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว,
ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ
ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ
อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ
อะริยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ
อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง
อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก
อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง
สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ,
จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ
วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.

อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม
ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง
อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา
อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทัง
ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง
ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ
ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา
อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข
ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง
ภาวิตันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ,
จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ
วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.

ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ
อะริยะสัจเจสุ, เอวันติปะริวัฏฏัง ท๎วาทะสาการัง
ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ.
เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก
สะพ๎รัห๎มะเก, สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิยา ปะชายะ
สะเทวะมะนุสสายะ, อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง
อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง. ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว
อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ, เอวันติปะริวัฏฏัง
ท๎วาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง
อะโหสิ. อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก
สะพ๎รัห๎มะเก, สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิยา ปะชายะ
สะเทวะมะนุสสายะ, อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง
อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง. ญาณัญจะ ปะนะ เม
ทัสสะนัง อุทะปาทิ, อะกุปปา เม วิมุตติ, อะยะ-
มันติมา ชาติ, นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ. อิทะมะโวจะ
ภะคะวา. อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต
ภาสิตัง อะภินันทุง. อิมัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยากะระ-
ณัส๎มิง ภัญญะมาเน, อายัส๎มะโต โกณฑัญญัสสะ
วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ. ยังกิญจิ
สมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ.

ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก, ภุมมา เทวา
สัททะมะนุสสาเวสุง, เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง
อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง
ปะวัตติตัง, อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา
พ๎ราห๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พ๎รัห๎มุนา วา
เกนะจิ วา โลกัส๎มินติ. ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา,
จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา,
ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. ตาวะติงสานัง
เทวานัง สัททัง สุต๎วา, ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
ยามานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา, ตุสิตา เทวา
สัททะมะนุสสาเวสุง. ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา,
นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา,
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา,
พ๎รัห๎มะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.

เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย
อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง, อัปปะฏิวัตติยัง
สะมะเณนะ วา พ๎ราห๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา
พ๎รัห๎มุนา วา เกนะจิ วา โลกัส๎มินติ. อิติหะ เตนะ
ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ, ยาวะ พ๎รัห๎มะโลกา สัทโท
อัพภุคคัจฉิ. อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ, สังกัมปิ
สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิ. อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส
โลเก ปาตุระโหสิ, อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง.
อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ, อัญญาสิ วะตะ โภ
โกณฑัญโญ, อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ.
อิติหิทัง อายัส๎มะโต โกณฑัญญัสสะ,
อัญญาโกณฑัญโญเต๎ววะ นามัง อะโหสีติ.

ถวายพรพระ* (หน้า ๔๔)

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.

[ ๓ หน ]

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.

ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ.

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ
ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิกะระณีโย,
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง,
ค๎รีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง,
ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ.

มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง,
โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง,
ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ.

นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง,
ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง,
เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ.

อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง,
ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง,
อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ.

กัต๎วานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา,
จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ,
สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ.

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง,
วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง,
ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ.

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง,
ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต,
อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ.

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง,
พ๎รัห๎มัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง,
ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ.

เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา,
โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที,
หิต๎วานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ,
โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

มะหาการุณิโก นาโถ      หิตายะ สัพพะปาณินัง,
ปูเรต๎วา ปาระมี สัพพา      ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ      โหตุ เม ชะยะมังคะลัง.
ชะยันโต โพธิยา มูเล      สัก๎ยานัง นันทิวัฑฒะโน,
เอวัง อะหัง วิชะโย โหมิ      ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล.
อะปะราชิตะปัลลังเก      สีเส ปะฐะวิโปกขะเร,
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง      อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ.
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง      สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง,
สุขะโณ สุมุหุตโต จะ      สุยิฏฐัง พ๎รัห๎มะจาริสุ.
ปะทักขิณัง กายะกัมมัง      วาจากัมมัง ปะทักขิณัง,
ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง      ปะณิธี เม ปะทักขิณา,
ปะทักขิณานิ กัต๎วานะ      ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ.
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง      รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
สัพพะพุทธานุภาเวนะ      สะทา โสตถี ภะวันตุ เม.
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง      รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
สัพพะธัมมานุภาเวนะ      สะทา โสตถี ภะวันตุ เม.
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง      รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
สัพพะสังฆานุภาเวนะ      สะทา โสตถี ภะวันตุ เม.


* สวดให้ผู้อื่น เปลี่ยนคำว่า เม เป็น เต. อะหัง วิชะโย โหมิ เป็น ตะวัง วิชะโย โหหิ.

บทสวดมนต์แปล

ปุพพะภาคะนะมะการ (หน้า ๔๘)

นะโม, ขอนอบน้อมด้วยกาย วาจา ใจ,
ตัสสะ ภะคะวะโต, แด่พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น,
อะระหะโต, ผู้บริสุทธิ์หมดจดจากกิเลส
เครื่องเศร้าหมองทั้งหลาย,
สัมมาสัมพุทธัสสะ, ได้ตรัสรู้ถูกถ้วนดีแล้ว.

[ ๓ หน ]

สัจจะกิริยะคาถา* (หน้า ๔๘)

[ (นำ) หันทะ มะยัง สัจจะกิริยะคาถาโย ภะณามะ เส ]

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง,
ที่พึ่งอย่างอื่นของข้าพเจ้าไม่มี,
พุทโธ เม สะระณัง วะรัง,
พระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งของข้าพเจ้าอันประเสริฐ,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ,
ด้วยการกล่าวความจริงนี้,
โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา,
ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ.

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง,
ที่พึ่งอย่างอื่นของข้าพเจ้าไม่มี,
ธัมโม เม สะระณัง วะรัง,
พระธรรมเป็นที่พึ่งของข้าพเจ้าอันประเสริฐ,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ,
ด้วยการกล่าวความจริงนี้,
โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา,
ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ.

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง,
ที่พึ่งอย่างอื่นของข้าพเจ้าไม่มี,
สังโฆ เม สะระณัง วะรัง,
พระสงฆ์เป็นที่พึ่งของข้าพเจ้าอันประเสริฐ,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ,
ด้วยการกล่าวความจริงนี้,
โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา,
ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ.


* สวดให้ผู้อื่น เปลี่ยนคำว่า เม เป็น เต. ข้าพเจ้า เป็น ท่าน.

กุศลกรรมบถ (หน้า ๕๐)

ทะสะ อิเม กุสะละกัมมะปะถา,
กรรมบถเป็นกุศลทั้ง ๑๐ เหล่านี้,
สะมัตตา สะมาทินนา, อันบุคคลสมาทานให้บริบูรณ์ได้แล้ว,
หิตายะ สุขายะ สังวัตตันติ,
ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข,
กะตะเมทะสะ, ๑๐ ประการไฉนบ้าง,
ปาณาติปาตา เวระมะณี,
คือเว้นจากการทำสัตว์มีชีวิตให้ตาย,
อะทินนาทานา เวระมะณี,
เว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของมิได้ให้,
กาเมสุ มิจฉาจารา เวระมะณี,
เว้นจากการประพฤติผิดในกามทั้งหลาย,
มุสาวาทา เวระมะณี, เว้นจากกล่าวคำเท็จ,
ปิสุณายะ วาจายะ เวระมะณี, เว้นจากวาจาส่อเสียด,
ผะรุสายะ วาจายะ เวระมะณี, เว้นจากวาจาหยาบร้าย,
สัมผัปปะลาปา เวระมะณี, เว้นจากพูดเพ้อเจ้อ,
อะนะภิชฌา, ไม่เพ่งอยากได้สิ่งของของใคร,
อัพ๎ยาปาโท, ไม่พยาบาทปองร้ายใคร,
สัมมาทิฏฐิ, เห็นชอบถูกต้องตามคลองธรรม,
อิเมโข ทะสะ กุสะละกัมมะปะถา,
กรรมบถเป็นกุศลทั้ง ๑๐ อย่าง เหล่านี้,
สะมัตตา สะมาทินนา, อันบุคคลสมาทานให้บริบูรณ์ได้แล้ว,
หิตายะ สุขายะ สังวัตตันตีติ,
ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ดังนี้แล.

อะภิณหะปัจจะเวกขะณะปาฐะ* (หน้า ๕๑)

[ (นำ) หันทะมะยัง อะภิณหะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส ]

ชะราธัมโมม๎หิ(มาม๎หิ), เรามีความแก่เป็นธรรมดา,
ชะรัง อะนะตีโต(ตา), ล่วงความแก่ไปไม่ได้,
พ๎ยาธิธัมโมม๎หิ(มาม๎หิ), เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา,
พ๎ยาธิง อะนะตีโต(ตา), ล่วงความเจ็บไข้ไปไม่ได้,
มะระณะธัมโมม๎หิ(มาม๎หิ), เรามีความตายเป็นธรรมดา,
มะระณัง อะนะตีโต(ตา), ล่วงความตายไปไม่ได้,
สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว,
เราละเว้นเป็นต่าง ๆ, คือว่า พลัดพรากจากของรัก ของเจริญใจ
ทั้งหลายทั้งปวง,
กัมมัสสะโกม๎หิ(กามหิ), เราเป็นผู้มีกรรมเป็นของ ๆ ตน,
กัมมะทายาโท(ทา), เป็นผู้รับผลของกรรม,
กัมมะโยนิ, เป็นผู้มีกรรมเป็นกำเนิด,
กัมมะพันธุ, เป็นผู้มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์,
กัมมะปะฏิสะระโณ(ณา), เป็นผู้มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย,
ยัง กัมมัง กะริสสามิ, จักทำกรรมอันใดไว้,
กัล๎ยาณัง วา ปาปะกัง วา, ดีหรือชั่ว,
ตัสสะ ทายาโท(ทา) ภะวิสสามิ,
จักเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น,
เอวัง อัมเหหิ อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง,
เราทั้งหลายพึงพิจารณาเป็นเนือง ๆ อย่างนี้แล.


* บุรุษสวด. (สตรีสวด).

บทปกิรณกะ

ประกาศอุโบสถแบบวัดบวรนิเวศวิหาร (หน้า ๕๓)

อัชชะ โภนโต ปักขัสสะ จาตุททะสี* ทิวะโส,
เอวะรูโป โข โภนโต ทิวะโส, พุทเธนะ ภะคะวะตา ปัณณัตตัสสะ ธัมมัสสะวะนัสสะ เจวะ ตะทัตถายะ,
อุปาสะกะอุปาสิกานัง อุโปสะถะกัมมัสสะ จะ กาโล โหติ,
หันทะ มะยัง โภนโต สัพเพ อิธะ สะมาคะตา, ตัสสะ
ภะคะวะโต ธัมมานุธัมมะปฏิปัตติยา ปูชะนัตถายะ,
อิมัญจะ รัตติง อิมัญจะ ทิวะสัง
อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง อุปะวะสิสสามาติ,
กาละปะริจเฉทัง กัต๎วา ตัง ตัง เวระมะณิง
อารัมมะณัง กัต๎วา, อะวิกขิตตะจิตตา หุต๎วา
สักกัจจัง อุโปสะถังคานิ สะมาทิเยยยามะ, อีทิสัง หิ
อุโปสะถะกาลัง สัมปัตตานัง อัม๎หากัง
ชีวิตัง มา นิรัตถะกัง โหตุ.

คำแปล
ข้าพเจ้าขอประกาศเริ่มเรื่องความ ที่จะได้สมาทานรักษาอุโบสถ
อันพร้อมไปด้วยองค์ ๘ ประการ ให้สาธุชนที่ได้ตั้งจิตสมาทาน
ทราบทั่วกันก่อนแต่กาลสมาทาน ณ บัดนี้

ด้วยวันนี้เป็นวันจาตุททะสี ดิถีที่ ๑๔ ค่ำ* แห่งปักษ์มาถึงแล้ว
ก็แลวันเช่นนี้ เป็นกาลที่สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงบัญญัติ
แต่งตั้งไว้ ให้มาประชุมกันฟังธรรม และเป็นกาลที่จะรักษาอุโบสถ
ของอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลาย เพื่อประโยชน์แห่งการฟังธรรม บัดนี้
ขอกุศลอันยิ่งใหญ่ คือตั้งจิตสมาทานอุโบสถจงเกิดมีแก่เรา
ทั้งหลายบรรดามาประชุม ณ ที่นี้ เราทั้งหลายพึงมีจิตยินดีว่า
จะรักษาอุโบสถ อันประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ ตลอดวันหนึ่ง
กับคืนหนึ่ง แล้วพึงทำความเว้นโทษนั้น ๆ เป็นอารมณ์ คือ

– เว้นจากการฆ่าสัตว์และใช้ให้คนอื่นฆ่า ๑
– เว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้
คือลักและฉ้อและใช้ให้ลักและฉ้อ ๑
– เว้นจากประพฤติกรรมที่เป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ ๑
– เว้นจากพูดคำเท็จ คำไม่จริง และล่อลวงอำพรางท่านผู้อื่น ๑
– เว้นจากดื่มกินสุราเมรัย สารพัดน้ำกลั่นน้ำดองอันเป็นของ
ให้ผู้ดื่มแล้วเมา ซึ่งเป็นเหตุที่ตั้งแห่งความประมาท ๑
– เว้นจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล ตั้งแต่พระอาทิตย์เที่ยงแล้ว
ไปจนถึงเวลาอรุณขึ้นมาใหม่ ๑
– เว้นจากฟ้อนรำขับร้อง ประโคมดนตรี ดูการละเล่น
บรรดาเป็นข้าศึกแก่กุศล และทัดทรงระเบียบดอกไม้
ลูบไล้ตัวด้วยของหอมเครื่องย้อมเครื่องแต่ง
และประดับร่างกายด้วยเครื่องอาภรณ์อันวิจิตรต่าง ๆ ๑
– เว้นจากนั่งนอนเหนือที่นั่งที่นอนอันสูง มีเตียงตั่งสูงกว่าประมาณ
และที่นั่งที่นอนอันใหญ่ภายในมีนุ่นและสำลี
และเครื่องปูลาดอันวิจิตรงดงาม ๑

จงทำความเว้นองค์ที่จะพึงเว้น ๘ ประการนี้เป็นอารมณ์
อย่ามีจิตฟุ้งซ่านส่งไปที่อื่น พึ่งสมาทานองค์อุโบสถ ๘ ประการนี้
โดยเคารพเถิด เพื่อจะบูชาสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
ด้วยธรรมานุธรรมปฏิบัติอย่างยิ่ง ตามกำลังของเราทั้งหลาย
ที่เป็นคฤหัสถ์ อนึ่ง ชีวิตแห่งเราทั้งหลายที่ได้อยู่รอดมาถึง
วันอุโบสถเช่นนี้ จงอย่าได้ล่วงไปโดยปราศจากประโยชน์เลย.


* นี้สำหรับวัน ๑๔ ค่ำ. วัน ๑๕ ค่ำ สวด ปัณณะระสี. วัน ๘ ค่ำ สวด อัฏฐะมี โข. วัน ๑ ค่ำ สวด อะมาวะสี หรือ ปาฏิปะโท.
** นี้สำหรับวัน ๑๔ ค่ำ. วัน ๑๕ ค่ำ สวด ปัณณะระสี ดิถีที่ ๑๕ ค่ำ. วัน ๘ ค่ำ สวด อัฏฐะมี โข ดิถีที่ ๘ ค่ำ. วัน ๑ ค่ำ สวด อะมาวะสี ดิถีที่ ๑ ค่ำ หรือ ปาฏิปะโท ดิถีที่ ๑ ค่ำ.

ถวายสังฆทาน (หน้า ๕๖)

อิมานิ มะยัง ภันเต ภัตตานิ สะปะริวารานิ
ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต
ภิกขุสังโฆ อิมานิ ภัตตานิ สะปะริวารานิ
ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.

คำแปล
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย
ซึ่งภัตตาหาร พร้อมทั้งของอันเป็นบริวารทั้งหลายเหล่านี้
แด่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ ซึ่งภัตตาหาร
พร้อมทั้งของอันเป็นบริวารทั้งหลายเหล่านี้
ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข
แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนานเทอญ.

อาราธนาศีล* (หน้า ๕๗)

ศีล ๕
มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ
ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ.

ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ
ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ.

ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ
ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ.

ศีล ๕ (นิจจศีล)
มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ
ปัญจังคะสะมันนาคะตัง นิจจะสีลัง ยาจามะ.

ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ
ปัญจังคะสะมันนาคะตัง นิจจะสีลัง ยาจามะ.

ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ
ปัญจังคะสะมันนาคะตัง นิจจะสีลัง ยาจามะ.

ศีล ๘
มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ
ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ.

ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ
ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ.

ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ
ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ.

อุโบสถศีล
มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ
อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ.

ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ
อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ.

ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ
อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ.

ส่วนที่ว่า วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ หมายถึง ต่างคน ต่างรักษา,
ต่างคนต่างขอ, ขอให้ให้ทีละสิกขาบท, อย่าให้รวมทุกสิกขาบท
ในครั้งเดียว, เมื่อล่วงสิกขาบทข้อใดก็ขาดเฉพาะสิกขาบทข้อนั้น
สิกขาบทข้ออื่น ๆ ยังไม่ขาด. ถ้าไม่สวด เมื่อล่วงสิกขาบทข้อใด
ข้อหนึ่ง จะถือว่าขาดหมดทุกสิกขาบท. บางสำนักนิยมตัด วิสุง
วิสุง รักขะณัตถายะ ออก.


* ถ้าสวดคนเดียว เปลี่ยนคำว่า มะยัง เป็น อะหัง. ยาจามะ เป็น ยาจามิ.

อาราธนาธรรม* (หน้า ๕๙)

อาราธนาธรรม*
พ๎รัห๎มา จะ โลกาธิปะตี สะหัมปะติ,
กัตอัญชะลี** อันธิวะรัง อะยาจะถะ,
สันตีธะ สัตตาปปะระชักขะชาติกา,
เทเสตุ ธัมมัง อะนุกัมปิมัง ปะชัง.

อาราธนาธรรม*** (พิสดาร)
พ๎รัห๎มา จะ โลกาธิปะตี สะหัมปะติ,
กัตอัญชะลี** อันธิวะรัง อะยาจะถะ,
สันตีธะ สัตตาปปะระชักขะชาติกา,
เทเสตุ ธัมมัง อะนุกัมปิมัง ปะชัง.

เอวัญหิ โลกาภิมะเตนะ พ๎รัห๎มุนา,
อัชเฌสิโต โส ภะคะวา อะนุตตะโร,
สัตเตสุ การุญญะตะโมกกะมันตะโต,
โวโลกะยี โลกะมิมัง สุจักขุนา.

อะทักขิ เวเนยยะชะเน อะนัปปะเก,
สันเต วะ โลกุตตะระโพธะนาระเห,
วิญญาปะเย อัปปะระชักขะชาติเก,
อะเถวะมัชเฌสะนะมาธิวาสะยิ.

อะปารุตา เต อะมะตัสสะ ท๎วารา,
เย โสตะวันโต ปะมุญจันตุ สัทธัง,
วิหิงสะสัญญี ปะคุณัง นะ ภาสิง,
ธัมมัง ปะณีตัง มะนุเชสุ พ๎รัห๎เม.

ตะโต มะหาการุณิโก มะเหสี,
สัมพุทธะกิจจัง ภะคะวา อะกาสิ,
สัทธัมมะจักกัสสะ ปะวัตตะนาทิง,
ฐะเปสิ โส สาสะนะธัมมะเสฏฐัง.

ทัมเม ทะมัง โมจะยิ ภัพพะสัตเต,
สังสาระทุกขา พะหุเกปิ เตนะ,
สัทธัมมะทีปัง ติวิธัมปิ โลเก,
หิตายะ สัมมาวะ ปะวัตตะยิตถาติ.

จาตุททะสี ปัณณะระสี ยา จะ ปักขัสสะ อัฏฐะมี,
กาลา พุทเธนะ ปัญญัตตา สัทธัมมัสสะวะนัสสิเม,
จาตุททะสี**** อะยันทานิ สัมปัตตา อะภิลักขิตา,
เตนายัง ปะริสา ธัมมัง โสตุง อิธะ สะมาคะตา,
สาธุ อัยโย ภิกขุสังโฆ กะโรตุ ธัมมะเทสะนัง,
อะยัญจะ ปะริสา สัพพา อัฏฐิกัต๎วา สุณาตุ ตัง.


* สำหรับใช้ในกาลธรรมดา คืองานต่าง ๆ ที่ไม่ใช่กาลพิเศษ.
** บางฉบับสวด กะตัญชะลิ.
*** ว่าเป็นพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. ใช้ในกาลพิเศษ เช่น มาฆบูชา วิสาขบูชา วิสาขอัฏฐมีบูชา อาสาฬหบูชา เป็นต้น.
**** นี้สำหรับวัน ๑๔ ค่ำ. วัน ๑๕ ค่ำ สวด ปัณณะระสี. วัน ๘ ค่ำ สวด อัฏฐะมี โข. วัน ๑ ค่ำ สวด อะมาวะสี หรือ ปาฏิปะโท.

อาราธนาปริตร (หน้า ๖๑)

วิปัตติปะฏิพาหายะ      สัพพะสัมปัตติสิทธิยา,
สัพพะทุกขะวินาสายะ      ปะริตตัง พ๎รูถะ มังคะลัง.

วิปัตติปะฏิพาหายะ      สัพพะสัมปัตติสิทธิยา,
สัพพะภะยะวินาสายะ      ปะริตตัง พ๎รูถะ มังคะลัง.

วิปัตติปะฏิพาหายะ      สัพพะสัมปัตติสิทธิยา,
สัพพะโรคะวินาสายะ      ปะริตตัง พ๎รูถะ มังคะลัง.

สรณคมน์ และ ศีล (หน้า ๖๒)

เบญจศีล (ศีล ๕)

นมัสการ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
[ ๓ หน ]

สรณคมน์
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.

ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.

ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.

สิกขาบท ๕
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
กาเมสุ มิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
สุรา เมระยะ มัชชะ ปะมาทัฏฐานา
เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

ท้ายศีล ๕*
แบบปกติ :
[ (นำ) อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ, สีเลนะ สุคะติง ยันติ,
สีเลนะ โภคะสัมปะทา, สีเลนะ นิพพุติง ยันติ,
ตัส๎มา สีลัง วิโสธะเย ]

แบบนิจจศีล :
[ (นำ) อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ,
นิจจะสีละวะเสนะ สาธุกัง รักขิตัพพานิ ]

อามะ ภันเต.

[ (นำ) สีเลนะ สุคะติง ยันติ, สีเลนะ โภคะสัมปะทา,
สีเลนะ นิพพุติง ยันติ, ตัส๎มา สีลัง วิโสธะเย ]

แบบสวดด้วยตนเอง :
อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ. [ ๓ หน ]

ใช้แทนได้ทั้งแบบปกติและแบบนิจจศีล.
นิยมใช้ในเวลาแสดงตนเป็นพุทธมามกะ.

ศีล ๘ และอุโบสถศีล

สวดนมัสการและสรณคมน์ เหมือนศีล ๕

สิกขาบท ๘
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
อะพ๎รัห๎มะจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
สุรา เมระยะ มัชชะ ปะมาทัฏฐานา
เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
วิกาละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
นัจจะ คีตะ วาทิตะ วิสูกะ ทัสสะนะ
มาลาคันธะ วิเลปะนะ ธาระณะ มัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา
เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา
เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

ท้ายศีล ๘*
[ (นำ) อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ, สีเลนะ สุคะติง ยันติ,
สีเลนะ โภคะสัมปะทา, สีเลนะ นิพพุติง ยันติ,
ตัส๎มา สีลัง วิโสธะเย ]

ท้ายอุโบสถศีล*
แบบปกติ :
[ (นำ) อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ, อัชเชกัง รัตตินทิวัง
อุโปสะถะวะเสนะ สาธุกัง รักขิตัพพานิ ]

อามะ ภันเต.

[ (นำ) สีเลนะ สุคะติง ยันติ, สีเลนะ โภคะสัมปะทา,
สีเลนะ นิพพุติง ยันติ, ตัส๎มา สีลัง วิโสธะเย ]

แบบสวดด้วยตนเอง :
อิมัง อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง, พุทธะปัญญัตตัง อุโปสะถัง,
อิมัญจะ รัตติง อิมัญจะ ทิวะสัง,
สัมมะเทวะ อะภิรักขิตุง สะมาทิยามิ.
(แปลว่า) ข้าพเจ้าสมาทานอุโบสถ ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้
ประกอบไปด้วยองค์ ๘ ประการนี้ เพื่อจะรักษาไว้ให้ดี
ไม่ให้ขาด ไม่ให้ทำลาย วันหนึ่งคืนหนึ่ง ณ เวลาวันนี้.


* บทท้ายศีล ๕ ศีล ๘ และอุโบสถศีลที่แสดงไว้นี้ เป็นแบบที่ใช้อยู่ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร.

แสดงตนเป็นพุทธมามกะ* (หน้า ๖๖)

[ (นำ) หันทะ มะยัง สาธุการัง กะโรมะ เส ]**

สาธุ สาธุ สาธุ.

[ (นำ) หันทะ มะยัง สะระณะคะมะนุสสะระณะคาถาโย
ภะณามะ เส ]**

อะหัง พุทธัญจะ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ
สะระณัง คะโต(ตา), อุปาสะกัตตัง(สิกัตตัง)
เทเสสิง ภิกขุสังฆัสสะ สัมมุขา,
เอตัง เม สะระณัง เขมัง เอตัง สะระณะมุตตะมัง,
เอตัง สะระณะมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะเย,
ยะถาพะลัง จะเรยยาหัง สัมมาสัมพุทธะสาสะนัง,
ทุกขะนิสสะระณัสเสวะ
ภาคีอัสสัง(คินิสสัง) อะนาคะเต.

[ หมอบกราบ แล้วสวด ]

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ.

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม.

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ.

[ กลับมานั่งท่าเดิม แล้วกราบ ๓ หน ]


* บุรุษสวด. (สตรีสวด).
** หัวหน้าพุทธมามกะสวด.

แผ่เมตตา (หน้า ๖๗)

สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวรา สุขะชีวิโน
ขอปวงสัตว์ทั้งหลาย จงเป็นผู้ไม่มีเวรต่อกัน
เป็นผู้ดำรงชีพอยู่เป็นสุขทุกเมื่อเถิด

กะตัง ปุญญัง ผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุ เต.
ของปวงสัตว์ทั้งสิ้นนั้น จงเป็นผู้มีส่วนได้เสวยผลบุญ
อันข้าพเจ้าบำเพ็ญแล้วนั้นเถิด.

ลาพระสงฆ์กลับบ้าน (หน้า ๖๘)

หันทะทานิ มะยัง ภันเต,
อาปุจฉามะ พะหุ กิจจา มะยัง พะหุกะระณียา.

[ (นำ) ยัสสะทานิ ตุมเห กาลัง มัญญะถะ ]

สาธุ ภันเต.

อภิวาท (หน้า ๖๘)

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. [ กราบ ]

ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
ธัมมัง นะมัสสามิ. [ กราบ ]

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สังฆัง นะมามิ. [ กราบ ]

บวชเนกขัมมะ (หน้า ๖๙)

ถวายพานดอกไม้เครื่องสักการะพระพุทธ
กราบ ๓ หน แล้วสวดบูชาพระรัตนตรัย*
อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อะภิปูชะยามิ,
อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อะภิปูชะยามิ,
อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อะภิปูชะยามิ.

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. [ กราบ ]
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
ธัมมัง นะมัสสามิ. [ กราบ ]
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สังฆัง นะมามิ. [ กราบ ]

ถวายเครื่องสักการะแด่พระสงฆ์ แล้วสวดนมัสการ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
[ ๓ หน ]

สวดขอบวชเนกขัมมะ และ คำแปล**
เอสาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ,
ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ,
ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ปัพพัชชัง มัง ภันเต,
สังโฆ ธาเรตุ อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง, สะระณัง คะตัง.
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอถึงสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า
แม้เสด็จดับขันธปรินิพพานนานแล้ว กับทั้งพระธรรม
และพระสงฆ์ว่าเป็นสรณะที่พึ่ง ที่ระลึก ขอพระสงฆ์
จงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นผู้บวชในพระธรรมวินัย
ผู้ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป.

ขอศีล ๘***
อะหัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ
อัฏฐะ สีลานิ ยาจามิ.
ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ
อัฏฐะ สีลานิ ยาจามิ.
ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ
อัฏฐะ สีลานิ ยาจามิ.

สวดนมัสการ และ สรณคมน์
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
[ ๓ หน ]

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.

ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.

ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.

[ (นำ) ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง ]

อามะ ภันเต.

รับศีล ๘
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
อะพ๎รัห๎มะจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
สุรา เมระยะ มัชชะ ปะมาทัฏฐานา
เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
วิกาละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
นัจจะ คีตะ วาทิตะ วิสูกะ ทัสสะนะ
มาลาคันธะ วิเลปะนะ ธาระณะ มัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา
เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา
เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ.
อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ.
อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ.

[ กราบ ๓ หน ]


* ถ้าเครื่องสักการะตั้งอยู่ในที่ไกล เปลี่ยนคำว่า อิมินา เป็น เอเตนะ. ถ้าเครื่องสักการะหลายอย่าง เปลี่ยนเป็น อิเมหิ สักกาเรหิ หรือ เอเตหิ สักกาเรหิ.
** ถ้าสวดหลายคน เปลี่ยนคำว่า เอสาหัง เป็น เอเต มะยัง (สำหรับบุรุษ). เอตา มะยัง (สำหรับสตรี). คัจฉามิ เป็น คัจฉามะ. มัง เป็น โน. คะตัง เป็น คะโต (สำหรับบุรุษ). คะตา (สำหรับสตรี).
ข้าพเจ้า เป็น ข้าพเจ้าทั้งหลาย.
*** ถ้าสวดหลายคน เปลี่ยนคำว่า อะหัง เป็น มะยัง. ยาจามิ เป็น ยาจามะ.

อธิบายวิธีสวดมนต์ (หน้า ๗๓)

คำนัดหรือคำชวน
การสวดมนต์ ตามแบบที่นิยมใช้กันมาแต่ครั้งโบราณ ก่อน
ที่จะสวดได้มีการกล่าวสรรเสริญคุณและชักชวนขึ้นก่อน. แล้วจึง
สวดขึ้นพร้อมกัน. อย่างที่เรียกกันว่า ขัดตำนาน. ดังจะเห็นได้ตาม
ต้นพระสูตรและพระปริตรต่าง ๆ เช่น เมตตปริตร*, ขันธปริตร,
มงคลสูตร, รตนสูตร เป็นต้น. ต่อมาการนิยมเปลี่ยนแปลงไป. บาง
แห่งได้นำเอาคำชักชวนนั้นมาสวดเสียด้วย. แต่บางแห่งยังคงใช้อยู่
ตามแบบเดิม. ตามแบบเดิมนั้น ในส่วนของคำชักชวนหรือที่เรียก
กันว่าบทขัดตำนาน ก็ยกให้เป็นหน้าที่ของพระเถระรูปที่ ๒ หรือรูป
ที่ ๓ กล่าวขึ้นก่อน. เมื่อจบแล้วจึงสวดขึ้นพร้อมกัน.

การสวดมนต์ในสมัยนี้ ที่นิยมกันอยู่ มี ๒ แบบ คือ
แบบสังโยค และ แบบมคธ.

วิธีสวดแบบสังโยคนั้น โดยปกติ ถ้าไม่มีการขัดตำนาน
ท่านผู้เป็นหัวหน้าประสงค์จะสวดบทไหน ก็กล่าวคำต้นบทนั้น
นำขึ้นก่อน แล้วรับสวดพร้อมกันไป.

วิธีสวดแบบมคธนั้น นิยมให้ท่านผู้เป็นหัวหน้ากล่าวเป็น
คำนัด คือ หันทะ มะยัง ฯ ขึ้นก่อน แล้วรับสวดพร้อมกันไป
แต่เมื่อบทไหนได้กล่าวคำชักชวนคือขัดตำนานแล้ว ไม่ต้องกล่าว
คำนัด คือ หันทะ มะยัง ฯ ซ้ำอีก ถ้าไม่กล่าวคำชักชวนคือขัดตำนาน
ก็กล่าวคำนัด คือ หันทะ มะยัง ฯ แทน. การกล่าวคำนัดก็ได้แก่
การบอกหัวข้อแห่งบทที่จะสวดนั่นเอง.

วิธีกล่าวคำนัด ที่ท่านนิยมใช้ คือออกชื่อบทที่จะสวด.
นำเอาชื่อแห่งบทที่จะสวดมาต่อเข้ากับคำว่า หันทะ มะยัง ฯ. แล้ว
ลงท้ายว่า ภะณามะ เส ดังนี้เป็นพื้น. ใช้คำท้ายว่า กะโรมะ เส
เฉพาะบางบท เช่น ปุพพะภาคะนะมะการ กับ ปัตติทานะคาถา.
ในที่นี้จักนำมากล่าวไว้พอเป็นตัวอย่างดังต่อไปนี้ : –

มีหลักซึ่งเป็นข้อควรกำหนดไว้ให้แม่นยำก่อน คือบทนั้น
เป็น ปาฐะ. สุตตะ. ปะริตตะ. หรือ คาถา. ถ้าเป็น ปาฐะ พึงกล่าว
คำนัดว่า …ปาฐัง, สุตตะ …สุตตัง, ปะริตตะ …ปะริตตัง, คาถา
ให้เติม โย ไว้ข้างท้าย คือเป็น คาถาโย แล้วลงท้ายว่า ภะณามะ เส.
ทุกบทไป.

ปาฐะ เช่น สะระณะคะมะนะปาฐะ : หันทะ มะยัง
สะระณะคะมะนะปาฐัง ภะณามะ เส.

สุตตะ เช่น มังคะละสุตตะ : หันทะ มะยัง
มังคะละสุตตัง ภะณามะ เส.

ปะริตตะ เช่น ขันธะปะริตตะ : หันทะ มะยัง
ขันธะปะริตตัง ภะณามะ เส.

คาถา เช่น นะมะการะสิทธิคาถา : หันทะ มะยัง
นะมะการะสิทธิคาถาโย ภะณามะ เส.

ที่กล่าวมานี้เฉพาะที่เป็นหลัก. เมื่อจะใช้บทไหนพึงเปลี่ยน
ตามความต้องการ. ส่วนที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นพิเศษ คือมีนิยมต่าง
ออกไปจากชื่อเดิมบ้าง ยังไม่มีชื่อปรากฏชัดบ้าง ดังนี้ : –

ปุพพะภาคะนะมะการ : หันทะ มะยัง พุทธัสสะ
ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส.

สัจจะกิริยะคาถา : หันทะ มะยัง นัตถิ เม สะระณัง
อัญญันติอาทิกา สัจจะกิริยะคาถาโย ภะณามะ เส. หรือ หันทะ
มะยัง สัจจะกิริยะคาถาโย ภะณามะ เส.

มังคะละสุตตะ : ถ้าจะสวดเฉพาะคาถา พึงกล่าวคำนัดว่า
หันทะ มะยัง มังคะละคาถาโย ภะณามะ เส.

ระตะนะสุตตะ : ถ้าจะสวดเฉพาะ ๖ คาถา พึงกล่าวคำนัด
ว่า หันทะ มะยัง ฉะระตะนะปะริตตะคาถาโย ภะณามะ เส.

กะระณียะเมตตะสุตตะ : ถ้าสวดย่อตั้งแต่ เมตตัญจะ ฯ
เป็นต้นไป พึงกล่าวคำนัดว่า หันทะ มะยัง เมตตัญจะ
สัพพะโลกัส๎มินติอาทิกัง เมตตะปะริตตัง ภะณามะ เส.

ขันธะปะริตตะ : ถ้าสวดย่อตั้งแต่ อัปปะมาโณ พุทโธ ฯ
เป็นต้นไป พึงกล่าวคำนัดว่า หันทะ มะยัง อัปปะมาโณ
พุทโธติอาทิกัง ขันธะปะริตตัง ภะณามะ เส.

โพชฌังคะปะริตตะ : หันทะ มะยัง โพชฌังคะปะริตตัง
ภะณามะ เส.

ยันทุนนิมิตตัง : หันทะ มะยัง ยันทุนนิมิตตันติอาทิกา
คาถาโย ภะณามะ เส. หรือ หันทะ มะยัง อะภะยะปะริตตัง
ภะณามะ เส.

ทุกขัปปัตตา : หันทะ มะยัง เทวะตาอุยโยชะนะคาถาโย
ภะณามะ เส.

ชะยะปะริตตะ : [ มะหาการุณิโก นาโถ ฯ ] ถ้าสวด
เพียงตอนท้าย คือ สุนักขัตตัง พึงกล่าวคำนัดว่า หันทะ มะยัง
สุปุพพัณหะสุตตะคาถาโย ภะณามะ เส.

นอกจากที่กล่าวมานี้ พึงพิจารณาเทียบเคียงดูเถิด.

อธิบายข้อความเบ็ดเตล็ด
๑. ทำวัตรเช้าแล้ว ในวันปกติจะสวดอะไรต่ออีกตามสมควรก็ได้.

๒. ทำวัตรค่ำแล้ว ในวันปกตินิยมสวดมนต์ต่อ เปลี่ยนตามหลักสูตร
ที่วัดกำหนดไว้. ท้ายสวดมนต์จะสวดอะไรต่ออีกตามสมควรก็ได้.

๓. ให้ศีล ๕-๘ ตามปกติ เมื่อจบสรณคมน์ ถ้าใช้ตามแบบไทยไม่นิยม
ว่า สะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง. ถ้าใช้ตามแบบมคธ ท่านนิยมว่า
สะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง. แต่ถ้าให้เป็น นิจจศีล หรืออุโบสถศีล
เมื่อจบสรณคมน์มีนิยมว่าด้วย (ผู้สมาทานรับว่า อามะ ภันเต)
แล้วจึงนำให้สมาทานสิกขาบทต่อไป.

๔. ชุมนุมเทวดา ถ้าเป็นพระราชพิธี ขึ้นตั้งแต่ สะรัชชัง สะเสนัง
เป็นต้นไป. ถ้าสวดสังโยคในพิธีสามัญ มักขึ้นตั้งแต่
ผะริต๎วานะ เมตตัง สะเมตตา เป็นต้นไป. บางคราวขึ้นตั้งแต่
สัคเค กาเม เป็นต้นไปก็มี. ถ้าสวดมคธ ขึ้น สะมันตา จักกะวาเฬสุ
เป็นต้นไป. ถ้าเป็นงานพิธีของพระโดยตรง เช่นพิธี เข้าพรรษา
ออกพรรษา วิสาขบูชา มาฆบูชา หรือแม้พิธีหล่อพระ เป็นต้น.
ท่านนิยมเปลี่ยนตอนท้าย คือตอนที่ว่า ธัมมัสสะวะนะกาโล
อะยัมภะทันตา ๓ หน เปลี่ยนเป็น พุทธะทัสสะนะกาโล
อะยัมภะทันตา, ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา,
สังฆะปะยิรุปาสะนะกาโล อะยัมภะทันตา.

๕. ในงานพิธีที่ไม่มีการทำน้ำมนต์ ไม่ต้องสวด
นะโมการะอัฏฐะกะ (นะโมแปดบท).

๖. ระตะนะสูตร ถ้าสวดทั้งสูตร จะขัดตำนาน ต้องขัดตั้งแต่
ปะณิธานะโต ปัฏฐายะ เป็นต้นไป. ถ้าจะสวดแต่ ๖ คาถา พึงขัด
ตั้งแต่ โกฏิสะตะสะหัสเสสุ เป็นต้นไป. การสวดรตนสูตร ถ้ากล่าว
คำนัดว่า …ระตะนะสุตตัง… พึงทราบว่าสวดพิสดาร คือสวดหมด
ทั้งสูตร. ถ้ากล่าวคำนัดว่า …ฉะระตะนะปะริตตะคาถาโย…
พึงทราบว่า สวดย่อเฉพาะ ๖ คาถา.

๗. อาฏานาฏิยะปะริตตะ ถ้าสวดย่อ สวดตั้งแต่ต้นจนถึง พุทธัง
วันทามะ โคตะมันติ ตามปกติมักใช้สวดย่อเป็นพื้น.

๘. บทขัดตำนานต่าง ๆ ถ้าขัดเป็นมคธลงท้ายว่า ภะณามะ เส.

๙. ถวายพรพระประกอบด้วย ปุพพะภาคะนะมะการ, พุทธคุณ
[ อิติปิโส ฯ ], ธรรมคุณ [ ส๎วากขาโต ฯ ], สังฆคุณ
[ สุปะฏิปันโน ฯ ] อย่างละ ๑ คาถา. ชะยะมังคะละอัฏฐะกะ
[ พาหุง ฯ ] ๘ คาถา. อานิสังสะคาถา [ เอตาปิ ฯ ] ๑ คาถา.
ชะยะปะริตตะ [ มะหาการุณิโก นาโถ ฯ ] ๕ คาถา.
สัพพะมังคะละคาถา [ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง ฯ ] ๓ คาถา.

๑๐. สวดมนต์แล้วฉันเพลติดต่อในวันเดียวกัน เมื่อสวดจบแล้ว ยัง
ไม่ต้องว่า ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง ฯ. ให้สวดถวายพรพระต่อ ไม่
ต้องตั้ง นะโม อีก. เสร็จแล้วว่า ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง ฯ. จบ.

๑๑. ถวายพรพระ ถ้าสวดมคธ ในที่ ๆ ว่า ชะยะมังคะลานิ
ท่านเปลี่ยนว่า ชะยะมังคะลัคคัง.

๑๒. ชะยะมังคะละคาถา ใช้ในเวลาทำพิธี เช่น ตัดจุก รดน้ำมนต์
สรงน้ำ เปิดป้าย ยกป้าย เททองหล่อพระ เป็นต้น. สวด ชะยะมัง-
คะละคาถา ขึ้นตั้งแต่ ชะยันโต เป็นต้นไป. จบแล้วกลับมาเริ่มต้น
ใหม่ จนกว่าจะเสร็จพิธี. แล้วสวด สัพพะมังคะละคาถา ต่อ.

ถ้าพิธีนั้น มีฤกษ์อยู่ใกล้กันกับเวลาฉัน เช้า หรือ เพล
ท่านนิยมสวดถวายพรพระไปก่อน. พอถึง ชะยะมังคะละคาถา
ตอน โหตุ เต ชะยะมังคะลัง หยุด. พอถึงเวลาฤกษ์ทำพิธี จึงขึ้น
ชะยันโต ต่อไปจนกว่าจะเสร็จพิธี.

๑๓. เวลาทำอนุโมทนา ถ้าท่านเจ้าของงานเป็นผู้ใหญ่ รูปที่ไม่มีพัด
หรือไม่ได้ใช้พัด ควรประณมมือ.

การนำสวดมนต์ก็ดี นำอนุโมทนาก็ดี ท่านให้แล้วแต่ผู้เป็น
หัวหน้าจะพึงพิจารณาเห็นสมควร.


* กรณียเมตตสูตร.